บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5
วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ.2559
เนื้อหาการเรียนการสอนในวันนี้
วันนี้เป็นการเรียนการสอนบทที่ 4 วันนี้ใครมาก่อนก็มาหยิบตัวปั๊มเพื่อเป็นการเช็กชื่อว่ามาเรียน หลังจากที่นักศึกษามาครบกันหมดทุกคนแล้วอาจารย์ก็เริ่มเข้าสู้เนื้อหาของวันนี้อย่างจัดเต็ม
บทที่ 4 โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศและต่างประเทศ
ปัจจุบันสถานศึกษาทุกระดับทั้งโลกต่างให้ความสำคัญกับบทบาทหน้าที่ของพ่อแม่ ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาการให้ความรู้กันผู้ปกครองจึงเป็นการกิจที่สถานได้ดำเนินงานในรูปแบบที่แตกต่างไปในแต่ละประเทศ โยที่ละประเทศได้ดำเนินยุทธศาสตร์การให้ความรู้แก่ผู้ปกครองโดยยึดความร่วมมือระหว่างบ้านโรงเรียน ชุมชนและสังคมจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อเป็นการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
โครงการการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในประเทศไทย
โครงการแม่สอนลูก
-ดำเนินการโดยกรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ
-จัดลำดับเด็กที่ด้อยโอกาส โดยให้มารดาเป็นผู้สอนเองที่บ้าน
-ใช้วิธีการแนะนำให้รู้จักใช้ทักษะรู้จักคิดและเรียนรู้มโนทัศน์ต่างๆ
-ใช้รูปแบบการทดลองสอนแม่เพื่อสอนลูกที่บ้าน โดยอาศัยรูปแบบโครงการการเยี่ยมบ้านของประเทศอิสราเอล
-มารดามีความพอใจในกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจและสามารถส่งเสริมพัฒนาการต่างๆเพิ่มขึ้น
-เนื้อหากิจกรรมในโปรแกรมนี้เป็นกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างแม่ลูก
-ดำเนินการทดลองหารูปแบบในกาสรใหเความรู้แก่กลุ่มสตรีแม่บ้านในชุมชน ได้นำแนวทางของโปรแกรม hippy program ของประเทศอิสราเอล
-เน้นให้ผู้ปกครองมีความพร้อมก่อรส่งลูกเข้าเรียน แม้จะส่งเสริมเด็กด้านต่างๆ เช่นภาษา การพัฒนากล้ามเนื้อ และสติปัญญา
การพัฒนารูปแบบการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการอบรมเลี้ยงดูเด็กต่ำกว่า 3 ปี ผ่านโรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัย
เป็นโครงการภายใต้งานวิจัยของกรมอนาภัย กระทรวงสาธารณะสุขเกิดความต้องการให้ครอบครัวเป็นหลักของการพัฒนาเด็กในช่วงอายุต่ำกว่า 3 ปี ด้วยการให้พ่อแม่ ผู้ปกครองเป็นผู้เลี้ยงดูที่มีคุณภาพ โดยใชรูปแบบการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ประกอบไปด้วย 4 รูปแบบ
1.วิธีกระบวนการเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วม
2.วิธีการสนทนากลุ่ม
3.วิธีอภิปรายกลุ่ม
4.วิธีการบรรยาย
โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กไทย
ดำเนินงานโดยสำนักงานสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิตเป็นโครงการที่มุ่งเร่งพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนไทยโดยผลักดันให้ครอบครัวมีส่วนร่วมที่สำคัญ ด้วยการจัดทำชุดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กและเยาวชนไทย เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองสามรถนำไปปฏิบัติได้จริง ประกอบด้วย
1.แบบสังเกตความคิดสร้างสรรค์ในเด็กสำหรับพ่อแม่
2.คู่มือความรู้และการจัดกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
3.หลักสูตรการเลี้ยงลูกให้มีความคิดสร้างสรรค์
4.ซีดีการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่อง การเลี้ยงลูกให้มีความคิดสร้างสรรค์
5.จัดอบรมพ่อแม่ผู้ปกครองเรื่อง การเลี้ยงลูกให้มีความคิดสร้างสรรค์
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัว บ้านล้อมรัก
ดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภายใต้คำขวัญ พลังครอบครัวไทยชนะภัยยาเสพติด เพื่อสร้างความเข้าใจบทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลเอาใจใส่บุตรหลานเพื่อให้ความปลอดภัยและห่างไกลยาเสพติด โดยมีวิะีการประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน 4 ช่องทาง คือ
1.ผ่านโทรทัศน์ในรูปแบบสารคี
2.ผ่านสื่อวิทย6
3.สื่อสั่งพิมพ์ ได้แก่ จดหมายข่าว เป็นต้น
4.กิจกรรมส่งเสริมความรู้และความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
โครงการหนังสือเล่มแรก bookstart thailand
โครงการหนังสือเล่มแรก เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 โดยการริเริ่มของมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ซึ่งในปีนั้นรัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิการประกาศให้เป็นปีแห่งการอ่าน ส่วนภาคเอกชนโดยสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการ รวมพลัง รักการอ่าน ขึ้นในปีนี้เช่นกัน โดยมีเป้าหมายที่จะให้พ่อแม่ลูกมีความสุขร่วมกันในโลกของหนังสือ สร้างพื้นฐานการอ่านและสานสัมพันธ์ในครอบครัว
โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
เป็นการดำเนินงานร่วมกันของกรมการพัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน กรมอนาภัย สำนักงานปรัดกระทรวงสาธารณสุข และอีกหลายหน่วยงาน
1.การเตรียมชุนชน แก่การให้ความรู้แก่อาสาสมัคร แล้วไปถ่ายทอดได้แก่ พ่อแม่ผู้ปกครอง
2.จัดกลุ่มสนทนาให้แก่เยาวชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง สนทนจาเกี่ยวกับการอบรมเลี้งดูลูก
3.จัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้ทีความรู้และทักษะในการเลี้ยงดุเด็กเพื่อเตรียมเป็นพ่อแม่ที่ดีต่อไป
โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
ดำเนินงานโดยกองสูตินารีเวชกรรม พร พระมงกุฎเกล้า ได้เปิดบริการให้เตรียมความพร้อมแก่คู่สมรสที่กำลังเตรียมใช้ชีวิตคู่ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆของชีวิตสมรส เพื่อความสุขราบรื่น โดยใช้ชื่อสถานบริการนี้ว่า คลินิกให้ความปรึกษาก่อนสมรส ดำเนินงานโดย พ.อ. นพ. วิวัฒน์ ศุภดิษณฐ์ มัวัตถุประสงค์เพื่อต้องการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในสังคมไทย
โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองดังกล่าวเป็นรูปแบบของการพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมพัฒนาการตลอดจนการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก
1.สถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกันรณงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกให้แกประชาชนทั่วไป
2.จัดบริการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ฝึกทักษะให้พ่อแม่และครอบครอบครัว
3.ส่งเสริมให้องค์กรของรัฐ เอกชน ท้องถิ่นจัดฝึกอบรมให้แก่พ่อแม่คู่สมรสใหม่
4.สนับสนุนโครงการต่างๆ
5.จัดให้มีวิธีการประเมินผลการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยพ่อแม่ ผู้ปกครอง
โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองในต่างประเทศ
โครงการการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองในประเทศอิสราเอล
ประเทศอิสราเอลถือเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาค่อนข้างสูง เพราะถือว่าการศึกษาคือการพัฒนามนุษย์ให้มีคุณภาพ ดังนั้น จึงมีการจัดการศึกษาให้แก่เด็กอายุ 4 - 5 ปี โยรัฐบาลเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ งานการศึกษาเด็กโดยพ่อแม่ผู้ปกครองถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบการจัดการศึกษาของอิสราเอลตั้งแต่ระดับอนุบาลการทำงานระหว่างบ้านกับโรงเรียนและชุมชน
โครงการศูนย์ส่งเสริมประสบการณ์เด็กปฐมวัยที่เรียกว่า aleh
ศูนย์ aleh จะมีกิจกรรมช่วยพ่อแม่ผู้ปกครอง ดังนี้
1.สอนแม่ที่อายุยังน้อนให้รู้จักใช้สื่อ อุปกรณ์้
2.จัดกิจกรรมสอนให้แม่ทำของเล่นให้ลูกหรือคิดสร้างสร้างเกมการเล่นกับลูก
3.ประสาทงานกับคลินิกครอบครัวแม่และเด็ก
โครงการเสนอแนะให้แม่สอนลูก เลี้ยงลุกอย่างไรให้ถูกวิธี
อาจเรียกโครงการนี้ว่าเป็นการจัดการศึกษานอกระบบแก่พ่แแม่ก็ว่าได้ โดยดครงการนี้ชื่อ hataf
โปรแกรมเป็นโครงการที่ร่วมมือกันทำระหว่างมหาวิทยาลัยรูซาเล็มกับการกรนะทรวงศึกษารธิการ เป็นดครงการที่จักรูปแบบการสอนพ่อแม่ที่มีลุก 1-3 ปี ซึ่งกิจกรรมที่สอนพ่อแม่ ผู้ปกครองคือ ให้พ่อแม่ได่พัฒนาทักษะการพูด คุยกับเด็ก ได้เรีัยนรู้พัฒนาการทั้งทางด้านสติปัญ๗ญา อารมณ๕์และสังคม สอนให้พ่อแม่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อมให้ลูกอย่างง่ายๆ
โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับผู้ปกครองและเด็ก
จัดขึ้นสำหรับเด็ก 4-6 ปี พร้อมด้วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้พ่อแม่ผู้ปกครองใช้เวลาว่างร่วมกับลูกในการสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ และสนุกกับกิจกรรม ผลงานที่ลูกสร้างขึ้น โดยมวิทยาการเป็นครูจากเนสเซอรี่ หรือ รร. อนุบาลหรือผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะ ดนตรี เกมการศึกษา นาฎศิลป์ ร้องรำทำเพลง เป็นต้น
โครงการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศสหรัฐอเมริกา
เมื่อปี พ.ศ. 1930 สหรัฐอเมริกาได้ประสบปัญหาหลายอย่างโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อครอบครัวจึงได้มีการประชุมเรื่อง สุขภาพเด็กและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยได้เสนอให้มีการจัดทำหลักสูตรการให้ความรู้ผู้ปกครองไว้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมของทุกรัฐ
1.เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย
2.ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมของเด็ก
3.ได้อภิปรายเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมและประเพณีที่มีต่อชีวิตครอบครัว
4.เพื่อให้เข้าใจลักษณธและจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการศึกษาเด็กด้วยการสนับสนุนให้ครอบครัวเข้ามามีบทบาทต่อการจัดการศึกษา โดยกำหนด 2 เรื่อง
1.ความพร้อมที่จะเรียน พ่อแม่จะต้องเตรียมความพร้อมให้ก่อนลูกจะเข้าเรียนและอุทิศเวลาแต่ละวันเพื่อช่วยลูกให้ำด้เรียน
2.การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ผู้ปกครองได้กำหนดให้โรงเรียนทุกแห่งส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนที่จะทำให้ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของเด็ก
โครงการศูนย์ข้อมูลพ่อแม่
1.ให้เข้าใจเรื่องความต้องการทางการศึกษาของเด็ก
2.ให้การสนับสนุนในการช่วยเกลือในการเรียนของเด็กประสบความสำเร็จ
3.สามารที่จะติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างครู นักเรียนและผู้บริการ
4.ให้มีส่วนร่วมในการออกแบบรับความช่วยเหลือสำหับนักเรียนที่ไม่ได้มาโรงเรียน เช่น การให้เอกสารในเรื่องต่างๆ
โครงการ เฮดสตาร์ท
1.สร้างครอบครัวให้เข้มแข็งในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
2.เชื่อมโยงเด็กและครอบครัวต่อการบริการชุมชนที่มีความต้องการความจำเป็น
3.ประกันโครงการ
โครงการ Brooklynr Early Childhood
เป็นโครงการที่ฝึกให้ผู้ปกครองเป็นครูในการสอนลูก ซึ่งได้รับความร่วมมือจากศูนย์กลางแพทย์ในโรงพยาบาลเด็กในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ปกครองโดยการจัดให้มีการตรวจสุขภาพเด็กเบื้งต้นเพื่อให้สามรถรักษาดูและความเจ็บป่วย ความพิการ หรือข้อบกพร่องต่างๆ
โครงการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศนิวซีแลนด์เป็นอีกประเภทหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาปฐมวัย โดยการศึกษาในระดับนี้ให้โอกาสผู้ปกครองใช้สิทธิ์ในฐานะหุ้นส่วนในการจัดการศึกำษาปฐมวัยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรหลาย
โครงการ เพลย์เซ็นเตอร์
เป็นโครงการที่กล่าวได้ว่า พ่อแม่ไปมีส่วนร่วมด้วยทั้งหมด นับตั้งแต่การจัดตั้ง การบริการ การดำเนินงาน โดยมีการควบคุมมาตรฐานที่รัฐบาลรับรองและสามรถจัดบรการให้แก่เด็กเล็กได้ประมาณหนึ่วงในสามของเด็กปฐมวัยทั้งหมดของประเทศ ปรัชญาในการทำงานคือ พ่อแม่คือครูคนแรกและเป็นครูที่ดีที่สุดของลูก
โครงการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เป็นโครงการที่โรงเรียนจัดนิทรรศการสำคัญผู้ปกครอง เพื่ออธิบายถึงปรัชญาที่เป็นรากฐานของการศึกษาปฐมวัยและนโยบายเรื่องประโยชน์การศึกษาที่มีต่อผู้ปกครอง มีการสำรวจความรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยและจัดเตรียมแฟ้มข้อมูลข่าวสารและนิทรรศการ
โครงการ พ่อแม่คือครูคนแรก
เป็นโครงการที่ให้ความช่วยเหลือแนะนำและให้ข้อมูลแก่พ่อแม่ให้มีความรู้ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กก่อนเกิดและตั้งแต่เกิดถึง 3 ขวบ รัฐบาลส่งเสริมให้พ่อแม่ทุกคนเข้าร่วมโครงการได้ตามความสมัครใจและไม่เสียต่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิน
โครงการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองประเทศออสเตรเลีย
มีรูปแบบในการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองในลักษณะที่เรียกว่า ศูนย์สุขภาพเด็ก เป็นศูนย์ที่ให้บริการคำแนะนำฟีสำหรับพ่อแม่และทารกจนถึง 5 ปี เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์จะเป็นพยาบาลทั่วไป จะทกการนัดหมายให้พ่อแม่พาลูกไปชั่งน้ำกนัก วัดส่วนสูง พัฒนาการของลูก ไปเยี่ยมบ้าน โดยเฉพาะทารกจนกระทั้งแม่แข็งแรงดี มีการจดบันทึกข้อมูลเด็กลงในสมุดสีฟ้า
โครงการ บุ๊คสตาร์ทในประเทศอังกฤษ
เป็นโครงการบุ๊สตาร์ท หรือเรียกว่า หนังสือเล่มแรก ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.2535 โดยนาย เวนดี้ คูลลิ่ง ภายใต้บุ๊คสตาร์ท ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลที่มีจุดมุ่งหมายในการนำหนังสือสู่คน นำคนสู่หนังสือ
ภายในภุงประกอบไปด้วย
-หนังสือที่ได้รับการคัดสรรแล้ว 2 เล่ม
-หนังสือแนะนำพ่อแม่ด้วยภาพเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก
-ของชำร่วยสำกรับเด็ก เช่น ผ้ารองจาน
-แผนที่แนะนำห้องสมุดแถวละแวกบ้าน
-บัตรสมาชิกห้องสมุดสำหับเด็ก
-รายชื่อหนังสือสำหรับเด็ก
-รายชื่อศูนรย์สนับสนุนคุณแม่เลี้ยงลูก
โครงการบุ๊คสตาร์ทในประเทศญี่ปุ่น
เมื่อปี พ.ศ. 2543 ญี่ปุ่นประกาศให้เป็น ปีของการอ่านหนังสือของเด็ก และได้มีการนำโครงการบุ๊คสตาร์ทของประเทศอังกฤษเข้ามาเผยแพร่ในญี่ปุ่น โดยมีศูนย์สนับสนุนบุ๊คสตาร์ทเป็นเจ้าของโครงการ ด้วยหลักการและเหตุผลที่ว่าภาษามีความสำคัญต่อการหล่อเลี้ยงจิตใจเด็ก เด็กเล็กต้องการอ้อมกอดอันอบอุ่นและเสียงพูดอย่างอ่อนโยน
สรุป
จากโครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ได้ยกตัวอย่างมานั้น จะเห็นได้ว่าทุกประเทศให้ความสำคัญในเรื่องของการพัฒนาเด็กตั้งแต่เด็กปฐมวัยซึ่งมีความสำคัญยิ่ง เป็นวัยแห่งการเริ่มต้นที่ดีของชีวิต พ่อแม่ผู้ปกครองจึงเป็นผู้ที่มีความพร้อมและมีคุณภาพในการดูแลเด็ก เพื่อให้เด็กได้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศ
คำถามท้ายบท บทที่ 4
1.ในการดำเนินโครงการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครองทั้งในและต่างประเทศมีเป้าหมายร่วมกันอย่างไร
ตอบ จากโครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองทั้งในประเทศและต่างประเทศ พ่อแม่ผู้ปกครองจึงเป็นผู้ที่มีความพร้อมและมีคุณภาพในการดูแลเด็ก เพื่อให้เด็กได้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศ ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ ความร่วมมือของผู้ปกครองเป็นการสนับสนุนให้ลูกเห็นว่าพ่อแม่และครูมีความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การเรียนรู้ที่โรงเรียนและที่บ้านสอดคล้อง สนับสนุนซึ่งกันและกัน อีกทั้งผู้ปกครองยังสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กได้
2.นักศึกษามีแนวคิดอย่างไรที่จะสนับสนุนให้โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองประสบผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม จงอธิบาย
ตอบ ดำเนินงานโดยสำนักงานสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิตเป็นโครงการที่มุ่งเร่งพัฒนาความ คิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนไทยโดยผลักดันให้ครอบครัวมีส่วนร่วมที่ สำคัญ ด้วยการจัดทำชุดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็ก และเยาวชนไทย เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองสามรถนำไปปฏิบัติได้จริง
3.ในฐานะที่นักศึกษาเป็นผู้ที่ให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในอนาคต จงยกตัวอย่างขององค์ความรู้หรือเรื่องที่ต้องการจะถ่ายทอดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเพื่อใช้ในการเลี่ยงดูเด็ก มา 5 เรื่องพร้อมอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ 1. ระบุแนวคิดในนิทาน หนังสือที่อ่าน เล่า เขียน สร้างเป็นผังความคิดเชื่อมโยงอย่างมีเหตุผล
ครอบครัว ในห้องเรียน ของจริง ของจำลอง ภาพถ่าย แผนที่ วีดิทัศน์ ฝึกเล่นเก
จับคู่ จับผิด เป็นต้น
4.ฝึกให้เด็กจำแนกประเภทสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวตามเกณฑ์ต่างๆ เช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด ลักษณะ ประเภท หรือฝึกให้เด็กตั้งเกณฑ์ต่างๆ ด้วยตัวเองอย่างสม่ำเสมอ ฝึกคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ การชั่ง ตวง วัด ดูเวลา วัน เดือน ปี และฝึกประมาณการคาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับสาเหตุหรือผลที่จะเกิดขึ้น
5.ฝึกให้เด็กตั้งคำถาม ตอบคำถามจากการฟัง การอ่าน แปลความหมาย กำหนดความหมาย ฝึกอธิบายสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
4.การให้ความรู้ผู้ปกครองสามารถส่งผลต่อพฤติกรรมเด็กหรือไม่อย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น เพราะผู้ปกครองสามารถตอบสนองความต้องการของเด็กได้ ว่าเด็กต้อการอะไร หรือเด็กอยากจะทำอะไร จะเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้าใจเด็กและส่งเสริมเด็กในการเรียนมากขึ้น และยังจะช่วยให้เด็กปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์ของเด็กให้หายไป
5.นักศึกษาจะมีวิธีในการติดตามผลการให้ความรู้ผู้ปกครองอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ทำแบบประเมินพัฒนาการของเด็กของทุกๆด้าน และอาจจะติดตามจากการเยี่ยมบ้านของเด็กว่าระหว่าที่เด็กอยู่โรงเรียนกับอยู่บ้านเด็กมีพฤติกรรมต่างกันอย่างไร
การนำเอาไปประยุกต์ใช้
1.สามารถนำความรู้ที่ได้มาเอาไปจัดสอนเด็กปฐมวัยได้จริงในอนาตค และการจัดการสอนได้ถูกต้องตามช่วงอายุและพัฒนาการของเด็ก
2.รู้จกวิธีการให้คำแนะนำต่อผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมากขึ้น ได้ความรู้เกี่ยวกับการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศและต่างประเทศมากขึ้น เพื่อเราจะได้เอาไปใช้ในอนคต
3.สามารถเอาบุ๊คสตาร์ทไปใช้กับการสอนเด็กปฐมวัยได้ในอนคต
4.มีความเข้าเรื่องโครงการต่างๆมากขึ้น สามารถเอาไปปรับใช้ได้จริง
ประเมินผล
ประเมินตนเอง
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมต่างๆ อาจจะมีการพูดคุยกับเพื่อนเล็กน้อย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียน มาตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนขณะที่อาจารย์สอน อาจจะมีการพูดคุยกันเล็กน้อย
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอนสุภาพเรียบร้อย มาสอนตรงต่อเวลา พูดจาสุภาพ มีเนื้อหาการเรียนการสอนที่แปลกใหม่และหน้าสนใจมาสอนเสมอ
2.วิธีการสนทนากลุ่ม
3.วิธีอภิปรายกลุ่ม
4.วิธีการบรรยาย
โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กไทย
ดำเนินงานโดยสำนักงานสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิตเป็นโครงการที่มุ่งเร่งพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนไทยโดยผลักดันให้ครอบครัวมีส่วนร่วมที่สำคัญ ด้วยการจัดทำชุดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กและเยาวชนไทย เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองสามรถนำไปปฏิบัติได้จริง ประกอบด้วย
1.แบบสังเกตความคิดสร้างสรรค์ในเด็กสำหรับพ่อแม่
2.คู่มือความรู้และการจัดกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
3.หลักสูตรการเลี้ยงลูกให้มีความคิดสร้างสรรค์
4.ซีดีการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่อง การเลี้ยงลูกให้มีความคิดสร้างสรรค์
5.จัดอบรมพ่อแม่ผู้ปกครองเรื่อง การเลี้ยงลูกให้มีความคิดสร้างสรรค์
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งของครอบครัว บ้านล้อมรัก
ดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภายใต้คำขวัญ พลังครอบครัวไทยชนะภัยยาเสพติด เพื่อสร้างความเข้าใจบทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลเอาใจใส่บุตรหลานเพื่อให้ความปลอดภัยและห่างไกลยาเสพติด โดยมีวิะีการประชาสัมพันธ์โครงการผ่าน 4 ช่องทาง คือ
1.ผ่านโทรทัศน์ในรูปแบบสารคี
2.ผ่านสื่อวิทย6
3.สื่อสั่งพิมพ์ ได้แก่ จดหมายข่าว เป็นต้น
4.กิจกรรมส่งเสริมความรู้และความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
โครงการหนังสือเล่มแรก bookstart thailand
โครงการหนังสือเล่มแรก เริ่มต้นขึ้นในปี 2546 โดยการริเริ่มของมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก ซึ่งในปีนั้นรัฐบาลโดยกระทรวงศึกษาธิการประกาศให้เป็นปีแห่งการอ่าน ส่วนภาคเอกชนโดยสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการ รวมพลัง รักการอ่าน ขึ้นในปีนี้เช่นกัน โดยมีเป้าหมายที่จะให้พ่อแม่ลูกมีความสุขร่วมกันในโลกของหนังสือ สร้างพื้นฐานการอ่านและสานสัมพันธ์ในครอบครัว
โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
เป็นการดำเนินงานร่วมกันของกรมการพัฒนาชุมชน กรมการศึกษานอกโรงเรียน กรมอนาภัย สำนักงานปรัดกระทรวงสาธารณสุข และอีกหลายหน่วยงาน
1.การเตรียมชุนชน แก่การให้ความรู้แก่อาสาสมัคร แล้วไปถ่ายทอดได้แก่ พ่อแม่ผู้ปกครอง
2.จัดกลุ่มสนทนาให้แก่เยาวชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง สนทนจาเกี่ยวกับการอบรมเลี้งดูลูก
3.จัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้ทีความรู้และทักษะในการเลี้ยงดุเด็กเพื่อเตรียมเป็นพ่อแม่ที่ดีต่อไป
โครงการพัฒนาเด็กโดยครอบครัว
ดำเนินงานโดยกองสูตินารีเวชกรรม พร พระมงกุฎเกล้า ได้เปิดบริการให้เตรียมความพร้อมแก่คู่สมรสที่กำลังเตรียมใช้ชีวิตคู่ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆของชีวิตสมรส เพื่อความสุขราบรื่น โดยใช้ชื่อสถานบริการนี้ว่า คลินิกให้ความปรึกษาก่อนสมรส ดำเนินงานโดย พ.อ. นพ. วิวัฒน์ ศุภดิษณฐ์ มัวัตถุประสงค์เพื่อต้องการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในสังคมไทย
โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองดังกล่าวเป็นรูปแบบของการพัฒนาศักยภาพของผู้ปกครองให้มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมพัฒนาการตลอดจนการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก
1.สถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกันรณงค์เพื่อสร้างจิตสำนึกให้แกประชาชนทั่วไป
2.จัดบริการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ฝึกทักษะให้พ่อแม่และครอบครอบครัว
3.ส่งเสริมให้องค์กรของรัฐ เอกชน ท้องถิ่นจัดฝึกอบรมให้แก่พ่อแม่คู่สมรสใหม่
4.สนับสนุนโครงการต่างๆ
5.จัดให้มีวิธีการประเมินผลการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยพ่อแม่ ผู้ปกครอง
โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองในต่างประเทศ
โครงการการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองในประเทศอิสราเอล
ประเทศอิสราเอลถือเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาค่อนข้างสูง เพราะถือว่าการศึกษาคือการพัฒนามนุษย์ให้มีคุณภาพ ดังนั้น จึงมีการจัดการศึกษาให้แก่เด็กอายุ 4 - 5 ปี โยรัฐบาลเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ งานการศึกษาเด็กโดยพ่อแม่ผู้ปกครองถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบการจัดการศึกษาของอิสราเอลตั้งแต่ระดับอนุบาลการทำงานระหว่างบ้านกับโรงเรียนและชุมชน
โครงการศูนย์ส่งเสริมประสบการณ์เด็กปฐมวัยที่เรียกว่า aleh
ศูนย์ aleh จะมีกิจกรรมช่วยพ่อแม่ผู้ปกครอง ดังนี้
1.สอนแม่ที่อายุยังน้อนให้รู้จักใช้สื่อ อุปกรณ์้
2.จัดกิจกรรมสอนให้แม่ทำของเล่นให้ลูกหรือคิดสร้างสร้างเกมการเล่นกับลูก
3.ประสาทงานกับคลินิกครอบครัวแม่และเด็ก
โครงการเสนอแนะให้แม่สอนลูก เลี้ยงลุกอย่างไรให้ถูกวิธี
อาจเรียกโครงการนี้ว่าเป็นการจัดการศึกษานอกระบบแก่พ่แแม่ก็ว่าได้ โดยดครงการนี้ชื่อ hataf
โปรแกรมเป็นโครงการที่ร่วมมือกันทำระหว่างมหาวิทยาลัยรูซาเล็มกับการกรนะทรวงศึกษารธิการ เป็นดครงการที่จักรูปแบบการสอนพ่อแม่ที่มีลุก 1-3 ปี ซึ่งกิจกรรมที่สอนพ่อแม่ ผู้ปกครองคือ ให้พ่อแม่ได่พัฒนาทักษะการพูด คุยกับเด็ก ได้เรีัยนรู้พัฒนาการทั้งทางด้านสติปัญ๗ญา อารมณ๕์และสังคม สอนให้พ่อแม่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อมให้ลูกอย่างง่ายๆ
โครงการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับผู้ปกครองและเด็ก
จัดขึ้นสำหรับเด็ก 4-6 ปี พร้อมด้วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้พ่อแม่ผู้ปกครองใช้เวลาว่างร่วมกับลูกในการสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ และสนุกกับกิจกรรม ผลงานที่ลูกสร้างขึ้น โดยมวิทยาการเป็นครูจากเนสเซอรี่ หรือ รร. อนุบาลหรือผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะ ดนตรี เกมการศึกษา นาฎศิลป์ ร้องรำทำเพลง เป็นต้น
โครงการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศสหรัฐอเมริกา
เมื่อปี พ.ศ. 1930 สหรัฐอเมริกาได้ประสบปัญหาหลายอย่างโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อครอบครัวจึงได้มีการประชุมเรื่อง สุขภาพเด็กและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยได้เสนอให้มีการจัดทำหลักสูตรการให้ความรู้ผู้ปกครองไว้เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมของทุกรัฐ
1.เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย
2.ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมของเด็ก
3.ได้อภิปรายเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมและประเพณีที่มีต่อชีวิตครอบครัว
4.เพื่อให้เข้าใจลักษณธและจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการศึกษาเด็กด้วยการสนับสนุนให้ครอบครัวเข้ามามีบทบาทต่อการจัดการศึกษา โดยกำหนด 2 เรื่อง
1.ความพร้อมที่จะเรียน พ่อแม่จะต้องเตรียมความพร้อมให้ก่อนลูกจะเข้าเรียนและอุทิศเวลาแต่ละวันเพื่อช่วยลูกให้ำด้เรียน
2.การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ผู้ปกครองได้กำหนดให้โรงเรียนทุกแห่งส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนที่จะทำให้ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของเด็ก
โครงการศูนย์ข้อมูลพ่อแม่
1.ให้เข้าใจเรื่องความต้องการทางการศึกษาของเด็ก
2.ให้การสนับสนุนในการช่วยเกลือในการเรียนของเด็กประสบความสำเร็จ
3.สามารที่จะติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างครู นักเรียนและผู้บริการ
4.ให้มีส่วนร่วมในการออกแบบรับความช่วยเหลือสำหับนักเรียนที่ไม่ได้มาโรงเรียน เช่น การให้เอกสารในเรื่องต่างๆ
โครงการ เฮดสตาร์ท
1.สร้างครอบครัวให้เข้มแข็งในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
2.เชื่อมโยงเด็กและครอบครัวต่อการบริการชุมชนที่มีความต้องการความจำเป็น
3.ประกันโครงการ
โครงการ Brooklynr Early Childhood
เป็นโครงการที่ฝึกให้ผู้ปกครองเป็นครูในการสอนลูก ซึ่งได้รับความร่วมมือจากศูนย์กลางแพทย์ในโรงพยาบาลเด็กในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ปกครองโดยการจัดให้มีการตรวจสุขภาพเด็กเบื้งต้นเพื่อให้สามรถรักษาดูและความเจ็บป่วย ความพิการ หรือข้อบกพร่องต่างๆ
โครงการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศนิวซีแลนด์เป็นอีกประเภทหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับการศึกษาปฐมวัย โดยการศึกษาในระดับนี้ให้โอกาสผู้ปกครองใช้สิทธิ์ในฐานะหุ้นส่วนในการจัดการศึกำษาปฐมวัยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรหลาย
โครงการ เพลย์เซ็นเตอร์
เป็นโครงการที่กล่าวได้ว่า พ่อแม่ไปมีส่วนร่วมด้วยทั้งหมด นับตั้งแต่การจัดตั้ง การบริการ การดำเนินงาน โดยมีการควบคุมมาตรฐานที่รัฐบาลรับรองและสามรถจัดบรการให้แก่เด็กเล็กได้ประมาณหนึ่วงในสามของเด็กปฐมวัยทั้งหมดของประเทศ ปรัชญาในการทำงานคือ พ่อแม่คือครูคนแรกและเป็นครูที่ดีที่สุดของลูก
โครงการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เป็นโครงการที่โรงเรียนจัดนิทรรศการสำคัญผู้ปกครอง เพื่ออธิบายถึงปรัชญาที่เป็นรากฐานของการศึกษาปฐมวัยและนโยบายเรื่องประโยชน์การศึกษาที่มีต่อผู้ปกครอง มีการสำรวจความรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยและจัดเตรียมแฟ้มข้อมูลข่าวสารและนิทรรศการ
โครงการ พ่อแม่คือครูคนแรก
เป็นโครงการที่ให้ความช่วยเหลือแนะนำและให้ข้อมูลแก่พ่อแม่ให้มีความรู้ความเข้าใจพัฒนาการของเด็กก่อนเกิดและตั้งแต่เกิดถึง 3 ขวบ รัฐบาลส่งเสริมให้พ่อแม่ทุกคนเข้าร่วมโครงการได้ตามความสมัครใจและไม่เสียต่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิน
โครงการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองประเทศออสเตรเลีย
มีรูปแบบในการให้ความรู้พ่อแม่ผู้ปกครองในลักษณะที่เรียกว่า ศูนย์สุขภาพเด็ก เป็นศูนย์ที่ให้บริการคำแนะนำฟีสำหรับพ่อแม่และทารกจนถึง 5 ปี เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์จะเป็นพยาบาลทั่วไป จะทกการนัดหมายให้พ่อแม่พาลูกไปชั่งน้ำกนัก วัดส่วนสูง พัฒนาการของลูก ไปเยี่ยมบ้าน โดยเฉพาะทารกจนกระทั้งแม่แข็งแรงดี มีการจดบันทึกข้อมูลเด็กลงในสมุดสีฟ้า
โครงการ บุ๊คสตาร์ทในประเทศอังกฤษ
เป็นโครงการบุ๊สตาร์ท หรือเรียกว่า หนังสือเล่มแรก ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.2535 โดยนาย เวนดี้ คูลลิ่ง ภายใต้บุ๊คสตาร์ท ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลที่มีจุดมุ่งหมายในการนำหนังสือสู่คน นำคนสู่หนังสือ
ถุงบุ๊คสตาร์ท
ภายในภุงประกอบไปด้วย
-หนังสือที่ได้รับการคัดสรรแล้ว 2 เล่ม
-หนังสือแนะนำพ่อแม่ด้วยภาพเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก
-ของชำร่วยสำกรับเด็ก เช่น ผ้ารองจาน
-แผนที่แนะนำห้องสมุดแถวละแวกบ้าน
-บัตรสมาชิกห้องสมุดสำหับเด็ก
-รายชื่อหนังสือสำหรับเด็ก
-รายชื่อศูนรย์สนับสนุนคุณแม่เลี้ยงลูก
โครงการบุ๊คสตาร์ทในประเทศญี่ปุ่น
เมื่อปี พ.ศ. 2543 ญี่ปุ่นประกาศให้เป็น ปีของการอ่านหนังสือของเด็ก และได้มีการนำโครงการบุ๊คสตาร์ทของประเทศอังกฤษเข้ามาเผยแพร่ในญี่ปุ่น โดยมีศูนย์สนับสนุนบุ๊คสตาร์ทเป็นเจ้าของโครงการ ด้วยหลักการและเหตุผลที่ว่าภาษามีความสำคัญต่อการหล่อเลี้ยงจิตใจเด็ก เด็กเล็กต้องการอ้อมกอดอันอบอุ่นและเสียงพูดอย่างอ่อนโยน
สรุป
จากโครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ได้ยกตัวอย่างมานั้น จะเห็นได้ว่าทุกประเทศให้ความสำคัญในเรื่องของการพัฒนาเด็กตั้งแต่เด็กปฐมวัยซึ่งมีความสำคัญยิ่ง เป็นวัยแห่งการเริ่มต้นที่ดีของชีวิต พ่อแม่ผู้ปกครองจึงเป็นผู้ที่มีความพร้อมและมีคุณภาพในการดูแลเด็ก เพื่อให้เด็กได้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศ
คำถามท้ายบท บทที่ 4
1.ในการดำเนินโครงการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครองทั้งในและต่างประเทศมีเป้าหมายร่วมกันอย่างไร
ตอบ จากโครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองทั้งในประเทศและต่างประเทศ พ่อแม่ผู้ปกครองจึงเป็นผู้ที่มีความพร้อมและมีคุณภาพในการดูแลเด็ก เพื่อให้เด็กได้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศ ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นสำคัญ ความร่วมมือของผู้ปกครองเป็นการสนับสนุนให้ลูกเห็นว่าพ่อแม่และครูมีความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การเรียนรู้ที่โรงเรียนและที่บ้านสอดคล้อง สนับสนุนซึ่งกันและกัน อีกทั้งผู้ปกครองยังสามารถจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กได้
2.นักศึกษามีแนวคิดอย่างไรที่จะสนับสนุนให้โครงการการให้ความรู้ผู้ปกครองประสบผลสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม จงอธิบาย
ตอบ ดำเนินงานโดยสำนักงานสุขภาพจิตกรมสุขภาพจิตเป็นโครงการที่มุ่งเร่งพัฒนาความ คิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กและเยาวชนไทยโดยผลักดันให้ครอบครัวมีส่วนร่วมที่ สำคัญ ด้วยการจัดทำชุดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็ก และเยาวชนไทย เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองสามรถนำไปปฏิบัติได้จริง
3.ในฐานะที่นักศึกษาเป็นผู้ที่ให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยในอนาคต จงยกตัวอย่างขององค์ความรู้หรือเรื่องที่ต้องการจะถ่ายทอดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองเพื่อใช้ในการเลี่ยงดูเด็ก มา 5 เรื่องพร้อมอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ 1. ระบุแนวคิดในนิทาน หนังสือที่อ่าน เล่า เขียน สร้างเป็นผังความคิดเชื่อมโยงอย่างมีเหตุผล
2. ชอบทดลองวิทยาศาสตร์
และสนใจที่จะนำวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ชอบมีส่วนร่วมในการวางแผนทำโครงงาน
มีความสุขที่ได้ผลิตของใช้หรือของเล่นจาเศษ วัสดุเหลือใช้
สามารถบอกประโยชน์และโทษของเกมที่เล่นได้
3. ฝึกให้เด็กสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัว เฝ้าดูรายละเอียดของธรรมชาติ
แล้ววิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้แก่ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
การดำรงชีวิตของพืชและสัตว์ ความเป็นอยู่ ของ คนใน ครอบครัว ในห้องเรียน ของจริง ของจำลอง ภาพถ่าย แผนที่ วีดิทัศน์ ฝึกเล่นเก
จับคู่ จับผิด เป็นต้น
4.ฝึกให้เด็กจำแนกประเภทสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวตามเกณฑ์ต่างๆ เช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด ลักษณะ ประเภท หรือฝึกให้เด็กตั้งเกณฑ์ต่างๆ ด้วยตัวเองอย่างสม่ำเสมอ ฝึกคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ การชั่ง ตวง วัด ดูเวลา วัน เดือน ปี และฝึกประมาณการคาดคะเนเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยอาศัยข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับสาเหตุหรือผลที่จะเกิดขึ้น
5.ฝึกให้เด็กตั้งคำถาม ตอบคำถามจากการฟัง การอ่าน แปลความหมาย กำหนดความหมาย ฝึกอธิบายสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
4.การให้ความรู้ผู้ปกครองสามารถส่งผลต่อพฤติกรรมเด็กหรือไม่อย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น เพราะผู้ปกครองสามารถตอบสนองความต้องการของเด็กได้ ว่าเด็กต้อการอะไร หรือเด็กอยากจะทำอะไร จะเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้าใจเด็กและส่งเสริมเด็กในการเรียนมากขึ้น และยังจะช่วยให้เด็กปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์ของเด็กให้หายไป
5.นักศึกษาจะมีวิธีในการติดตามผลการให้ความรู้ผู้ปกครองอย่างไร จงอธิบาย
ตอบ ทำแบบประเมินพัฒนาการของเด็กของทุกๆด้าน และอาจจะติดตามจากการเยี่ยมบ้านของเด็กว่าระหว่าที่เด็กอยู่โรงเรียนกับอยู่บ้านเด็กมีพฤติกรรมต่างกันอย่างไร
การนำเอาไปประยุกต์ใช้
1.สามารถนำความรู้ที่ได้มาเอาไปจัดสอนเด็กปฐมวัยได้จริงในอนาตค และการจัดการสอนได้ถูกต้องตามช่วงอายุและพัฒนาการของเด็ก
2.รู้จกวิธีการให้คำแนะนำต่อผู้ปกครองเด็กปฐมวัยมากขึ้น ได้ความรู้เกี่ยวกับการให้ความรู้ผู้ปกครองในประเทศและต่างประเทศมากขึ้น เพื่อเราจะได้เอาไปใช้ในอนคต
3.สามารถเอาบุ๊คสตาร์ทไปใช้กับการสอนเด็กปฐมวัยได้ในอนคต
4.มีความเข้าเรื่องโครงการต่างๆมากขึ้น สามารถเอาไปปรับใช้ได้จริง
ประเมินผล
ประเมินตนเอง
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนและทำกิจกรรมต่างๆ อาจจะมีการพูดคุยกับเพื่อนเล็กน้อย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียน มาตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนขณะที่อาจารย์สอน อาจจะมีการพูดคุยกันเล็กน้อย
ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอนสุภาพเรียบร้อย มาสอนตรงต่อเวลา พูดจาสุภาพ มีเนื้อหาการเรียนการสอนที่แปลกใหม่และหน้าสนใจมาสอนเสมอ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น